แนะนำวัดประยุรวงศาวาส
เปิดสมัครพระนักเทศน์หลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.ทศ.) รุ่นที่ ๘ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ข่าวเด่น
 

วัดประยุรวงศาวาส ได้รับการยอมรับระดับนานาชาติจากผลงานส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนให้แก่ชุมชนย่านกะดีจีน


วัดประยุรวงศาวาส|กิจกรรมงานวัด'๖๖
>>>สวดมนต์ข้ามปี วิถีออนไลน์ ต้อนรับปีใหม่ รับความเป็นสิริมงคล ๒๕๖๖
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน "สมโภช ๑๙๕ ปี วัดประยูรฯ" ฝั่งธน กรุงเทพฯ
>>>พิธีบำเพ็ญกุศลงาน ''สมโภชพระอาราม ๑๙๕ ปี วัดประยูรฯ''
>>>พิธีเปิดงาน ''สมโภชพระอาราม ๑๙๕ ปี วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร''
>>>พิธีเวียนเทียน 'วันมาฆบูชา' ปี ๒๕๖๖
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ประเพณีสงกรานต์'วัดประยุรวงศาวาส ปี ๒๕๖๖
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ใต้ร่มพระบารมี ๒๔๑ ปี กรุงรัตนโกสินทร์'
>>>ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์/การประชุมผู้บริหารและบุคลากรฯ
>>>พระพรหมโมลี/การประชุมสัมมนาพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา
>>>พิธีบำเพ็ญกุศลอุทิศบุญให้แก่บุรพาจารย์ในสำนัก
>>>เครื่องสักการะพระราชทาน อายุวัฒนมงคล ๖๘ พระพรหมบัณฑิต
>>>พิธีเจริญพระพุทธมนต์ฉลองอายุวัฒนมงคล ๖๘ ปี พระพรหมบัณฑิต
>>>พิธีรับการถวายทุนการศึกษาจากเจ้าภาพทุน และมอบทุนการศึกษา
>>>[ปาฐกถา] ๐๘๒ 'วิถีคนรักเรียน'
>>>[สัมโมทนียกถา] ๐๘๓ 'ปณิธานการเผยแผ่พระพุทธศาสนา'
>>>การยอมรับระดับนานาชาติจากผลงานส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน

[ไตรมาสที่ ๔]|คณะสงฆ์|วัดประยูรฯ|พระธรรมเทศนา'๖๖|พระพรหมบัณฑิต
>>>[บรรยาย] ๐๘๗ 'นโยบายแผนการศึกษาพระปริยัติธรรมและระบบคุณภาพการศึกษา'
>>>[ปาฐกถา] ๐๘๘ 'ชีวิตและผลงานของพระอุบาลีคุณูปมาจารย์'
>>>[บรรยาย] ๐๘๙ 'หลักธรรมสำหรับผู้บริหารอัยการจังหวัด'
>>>[บรรยาย] ๐๙๐ 'ทิศทางแนวทางพระปริยัตินิเทศก์แห่งคณะสงฆ์'
>>>[เสวนา] ๐๙๑ 'ศาสนากับความยั่งยืนของชุมชน'
>>>[ปาฐกถา] ๐๙๒ 'การพัฒนามนุษย์พุทธปัญญา'
>>>[ประชุม] คณะอนุกรรมการแปลและคณะอนุกรรมการบรรณาธิการพระไตรปิฎก
>>>[ประชุม] คณะกรรมการบริหาร (ICDV) และคณะกรรมการบริหาร (IABU)
>>>[วัดประยูรฯ] ได้การยอมรับระดับนานาชาติจากผลงานส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน

 

          วันพุธที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๖ เว็บไซต์ขององค์การยูเนสโก (UNESCO) ได้เผยแพร่บทความเรื่อง “Harnessing heritage Wat Prayoon in Bangkok, Thailand, enjoys international recognition for its contribution to the sustainable development of the Kadeejeen community (การใช้ประโยชน์จากมรดก : วัดประยุรวงศาวาสได้รับการยอมรับระดับนานาชาติจากผลงานส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนให้แก่ชุมชนย่านกะดีจีน)” เขียนโดยชัยรัตน์ จงวัฒนกิจ ทีมข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ ยูเนสโก กรุงเทพฯ จากการสัมภาษณ์พระพรหมบัณฑิตเรื่องการบริหารจัดการมรดกทางวัฒนธรรม หลังการบูรณะปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์และพรินทรปริยัติธรรมศาลา

          นอกจากนี้ บทความดังกล่าวยังได้รับการเผยแพร่ในเว็บไซต์ของหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๖
 


ข่าว : พระครูปลัดสุวัฒนบัณฑิตคุณ ผจล. วัดประยุรวงศาวาส
แหล่งเผยแผ่ : UNESCO     
                     : BANGKOKPOST
 

         
          Consecrated by rich history and exalted by the faith of its local community, Wat Prayurawongsawas (known colloquially as Wat Prayoon) inspires awe with the grandeur of its towering Phra Borommathat Maha Chedi (principal stupa), whose pleasing bell-shaped proportions find glorifying aesthetic resonance in the 18 subsidiary stupas that punctuate the encircling gallery.

Phra Brahmapundit, abbot of Wat Prayoon

          ‘This chedi is one of a kind in Thailand’, says Phra Brahmapundit, abbot of Wat Prayoon, as he sits serenely in the temple’s ubosot (ordination hall), against the impressive backdrop of a golden Buddha that remains resplendent with gilding adroitly executed almost two centuries ago.

 The ubosot?s interior

          The chedi’s most distinctive feature is its accessible interior space, where one can marvel at the massive central pillar of about 20 metres in height and 144 tonnes in weight. When construction began in 1828, under the reign of King Rama III, Wat Prayoon’s principal stupa was structurally anachronistic: hollow chedis with a central pillar were more typical of the Ayutthaya period (1350–1767). ‘But no such chedi from the Ayutthaya period ever attained this size’, the abbot remarks.

Unfinished depiction of the chedi, mural inside the vihara

          Phra Brahmapundit proceeds to recount that, during the Second World War, a bomb intended for the strategic Memorial Bridge—the only bridge spanning the Chao Phraya River at the time—missed its target and detonated near the front entrance to the Wat Prayoon complex. The vihara (assembly hall) suffered severe damage, but the enormous Sukhothai-style statue of the Buddha enshrined therein was perfectly unscathed.

Buddha statue inside the vihara

          The roof of the ubosot was partly destroyed, consequently admitting rainwater that washed away original murals from three of the four walls.

Restored mural inside the ubosot

          When observed from its exterior, the chedi seemed to be undisturbed. Nevertheless, Phra Brahmapundit hypothesises that the impact of the bomb eventually caused the central pillar to snap crosswise about two metres above its base and lean its considerable tonnage against the inner wall of the chedi.

On-site exhibit showing the chedi and its central pillar before and after restoration

          Surveying the structure in 2006, engineers from King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL) found that the entire chedi was inclining towards the Chao Phraya River by about 1.2 metres. Fearing further leaning and potential collapse, the abbot initiated the chedi’s restoration project in close consultation with KMITL and the Fine Arts Department.

The straightened and braced central pillar

          Owing to the need to preserve the unique pillar, the restoration effort necessitated nothing less than a virtuosic engineering feat. Six months were required to devise a plan that ultimately entailed the creation of a precautionary steel framework to surround the pillar, reinforcing the chedi’s core structure with a solid steel armature to ensure future stability, and carefully lifting the pillar into its original position by maneuvering hydraulic jacks in a tight space.

Newspaper of 1954 left behind by an unsuccessful looter

         During the chedi’s restoration process (2006–10), numerous precious relics were found in two theretofore undiscovered crypts. As evidenced by a newspaper dated 25 September 1954 which was left behind by an unsuccessful looter, the reputed worth of these relics had been attracting unwanted attention for quite some time.

Pharin Pariyattithammasala

          Many of the discovered relics (as well as the newspaper) are now kept in the Pharin Pariyattithammasala, a storied pavilion that was built during the reign of King Rama V and once served as Thailand’s first public library. After years of disuse and disrepair, the pavilion was restored along with the chedi and converted into a small museum.

Inside the Pharin Pariyattithammasala

          The exemplary restoration of the chedi and the adjoining pavilion at Wat Prayoon garnered an Award of Excellence in 2013 as part of the UNESCO Asia-Pacific Awards for Cultural Heritage Conservation, which have been recognizing the successful conservation of structures, places and properties of heritage value in the region over the past two decades. The award citation not only applauds the ‘sophisticated understanding of a unique architectural typology from the early Rattanakosin era’ but also underscores the project’s ‘extensive social impact in the multicultural historic district of Kadeejeen.’

Riverside promenade

          According to Phra Brahmapundit, the UNESCO commendation gave Wat Prayoon the credibility to subsequently advocate for the culturally diverse Kadeejeen community by engaging in discussions with government officials and spearheading initiatives for sustainable local development, including the creatively designed Chao Phraya Sky Park (officially opened to the public with much fanfare in 2020) and the nearly complete riverside promenade stretching from Wat Prayoon to Wat Kalayanamit, which is wide enough to accommodate both pedestrians and biking tourists.

Khao Mo

          Today, Phra Brahmapundit describes Wat Prayoon as a ‘reception area’ for tourists wishing to experience the idiosyncratic charm of the Kadeejeen community. Indeed, the intriguing blend of Eastern and Western elements in Wat Prayoon’s spectacular Khao Mo—the largest manmade mountain outside of the Grand Palace—highlights the harmonious multiculturalism that the abbot regards as the strength of this community.

Gothic-style mondop enshrining a Buddha statue, Khao Mo

แหล่งเผยแผ่
>>>UNESCO     
>>>BANGKOKPOST        


วัดประยุรวงศาวาส
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน "สมโภช ๑๙๕ ปี วัดประยูรฯ" ฝั่งธน กรุงเทพฯ
>>>6 ไฮไลต์ที่ต้องปักหมุดเที่ยว (ตามรอยบุพเพสันนิวาส ตอนที่ ๑)
>>>บุพเพสันนิวาส ๒” ที่เปิดตัวแรงสุด ๆ (ตามรอยบุพเพสันนิวาส ตอนที่ ๒)
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ประเพณีสงกรานต์'วัดประยุรวงศาวาส ปี ๒๕๖๕
>>>พิธีสมโภชวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร ครบ ๑๙๔ ปี
>>>พิธีทอดกฐินพระราชทาน วัดประยุรวงศาวาส ประจำปี ๒๕๖๔
>>>ประเพณีลอยกระทงประทีปเทียนหอม วัดประยูรฯ ประจำปี ๒๕๖๔
>>>ขอเชิญเที่ยวงานลอยกระทงประทีปเทียนหอม วัดประยูรฯ ประจำปี ๒๕๖๓
>>>ขอเชิญร่วมทำบุญกฐินพระราชทานวัดประยุรวงศาวาส ปี ๒๕๖๓
>>>พิธีบำเพ็ญกุศลตักบาตรเทโวโรหณะ วัดประยูรฯ ปี ๒๕๖๓
>>>ร่วมงานแถลงข่าว“River Festival 2020 สายน้ำแห่งวัฒนธรรมไทย”ครั้งที่ ๖
>>>๕ สมเด็จพระราชาคณะ ร่วมงานสมโภช ๑๙๒ ปี วัดประยูรฯ
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน "สมโภช ๑๙๒ ปี วัดประยูรฯ" ฝั่งธน กรุงเทพฯ
>>>ขอเชิญร่วมงานส่งท้ายปีเก่า ๒๕๖๒ วิถีไทยต้อนรับปีใหม่ ๒๕๖๓
>>>ขอเชิญเที่ยวงานลอยกระทง วัดประยูรฯ ประจำปี ๒๕๖๒
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ประเพณีสงกรานต์'วัดประยุรวงศาวาส ปี ๒๕๖๒
>>>สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงเปิดอาคาร "สิริภักดีธรรม"
>>>ขอเชิญร่วมงานส่งท้ายปีเก่า ๒๕๖๑ วิถีไทยต้อนรับปีใหม่ ๒๕๖๒ วิถีพุทธ
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน "สมโภช ๑๙๑ ปี วัดประยูรฯ" ฝั่งธน กรุงเทพฯ
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ประเพณีสงกรานต์'วัดประยุรวงศาวาส ปี ๒๕๖๑
>>>แถลงข่าวการจัดงานสงกรานต์ประจำปี ๒๕๖๑ Water Festival 2018
>>>๓ สมเด็จพระราชาคณะ ร่วมเจริญพระพุทธมนต์งานสมโภชวัดประยูรฯ ๑๙๐ ปี
>>>เปิดงานสมโภช ๑๙๐ ปี วัดประยูรฯ อย่างอลังการ สืบสานวัฒนธรรมไทย
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน "สมโภช ๑๙๐ ปี วัดประยูรฯ" ฝั่งธน กรุงเทพฯ
>>>งาน"วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร ๑๘๙ ปี"
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน"สมโภช ๑๘๘ ปี วัดประยูรฯ"ปี ๒๕๕๙
>>>สมโภชพระอาราม ๑๘๘ ปี วัดประยูรฯ พ.ศ.๒๕๕๙
>>>๑๕ เมษายน"วันปีใหม่ วันเถลิงศก"วัดประยูรฯ ปี ๒๕๕๘
>>>ขอเชิญเที่ยวงาน'ประเพณีสงกรานต์ วัดประยูรฯ ๒๕๕๘
>>>WaterFestival ล่องเรือฟรี ๗ ท่าน้ำ วัดประยูร ฯ ๒๕๕๘
>>>เที่ยวงานเทศกาลสงกรานต์ วัดประยูรฯ ๒๕๕๘ 
>>>เที่ยวสงกรานต์ ๒๕๕๘ วัดประยุรวงศาวาส
>>>ขอเชิญเที่ยวงานฉลองวัด"ประยูรฯวัดรั้วเหล็ก"๑๘๗ ปี 
>>>รวมภาพบรรยากาศ งานฉลองรางวัลยูเนสโก ๒๕๕๗ 
>>>เจดีย์วัดประยุรวงศาวาสฯ มรดกทางวัฒนธรรม
>>>เจดีย์มีแกนกลางแบบอยุธยาได้รับรางวัลที่ ๑ จากยูเนสโก
>>>"เจดีย์พระประธาน"วัดประยูรฯ ชนะเลิศอนุรักษ์
>>>'เจดีย์พระประธาน' วัดประยูรฯ ชนะเลิศจากยูเนสโก 
>>>Award of Excellence
>>>วัดประยุรวงศาวาสฯ คว้ารางวัล "ยูเนสโก" 
>>>"วัดประยุรวงศาวาส" ในสายตา UNESCO 
>>>พระบรมธาตุมหาเจดีย์ วัดประยุรวงศาวาส
>>>มส. มอบของยังชีพแก่ผู้ประสบอัคคีภัยชุมชนจอมทอง


 


ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม1 : Download? (284 kb)
ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม2 : Download? (284 kb)
0 ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม3 : Download? (284 kb)
ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม4 : Download? (284 kb)
ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม5 : Download? (284 kb)

เขียนเมื่อ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 | อ่าน 576
เขียนโดย วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

 
 
 
 
   
ข่าวเด่น อื่นๆ
พระพรหมบัณฑิต บรรยาย เรื่อง 'ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเทศน์' โครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๔ ในโครงการทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย ปี ๒๕๖๖
โครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๔ ในโครงการทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย ประจำปี ๒๕๖๖ (เปิดอ่าน39)
25/4/2567
พระพรหมบัณฑิต กล่าวสัมโมทนียกถา เรื่อง 'ขวัญและกำลังใจแด่นักเทศน์' ในพิธีปฐมนิเทศโครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๔ โครงการทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย' ปี ๒๕๖๖
โครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๔ ในโครงการทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย ประจำปี ๒๕๖๖ (เปิดอ่าน40)
25/4/2567
พระพรหมบัณฑิต กล่าวอนุโมทนากถา เรื่อง 'โครงการทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย' พิธีปฐมนิเทศโครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๔ ในโครงการทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย' ปี ๒๕๖๖
โครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๔ โครงการทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย ประจำปี ๒๕๖๖ (เปิดอ่าน51)
25/4/2567
นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เป็นประธานในพิธีปฐมนิเทศโครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๔ ในโครงการทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย ปี ๒๕๖๖ ณ วัดประยุรวงศาวาส วรวิหาร กรุงเทพฯ
โครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ ๔ โครงการทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย ประจำปี ๒๕๖๖ (เปิดอ่าน55)
25/4/2567
พระพรหมบัณฑิต บรรยาย เรื่อง 'การบริหารด้วยปัญญาและคุณธรรม' ในการอบรมพัฒนาผู้บริหารระดับกลาง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การอบรมพัฒนาผู้บริหารระดับกลาง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ระหว่างวันที่ ๒๔ - ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ อาคาร มวก. ๔๘ พรรษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (เปิดอ่าน76)
24/4/2567
พระพรหมบัณฑิต แสดงพระธรรมเทศนา เรื่อง 'หิตปวัตติกถา' ว่าด้วยการบำเพ็ญประโยชน์ ในงานพิธีสมโภชหิรัญบัฏ และบำเพ็ญกุศลเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันอายุวัฒนมงคลครบ ๗ รอบ ๘๔ ปี พระพรหมวชิรเวที (อมร ญาโณทโย)
พิธีสมโภชหิรัญบัฏ และบำเพ็ญกุศลเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันอายุวัฒนมงคลครบ ๗ รอบ ๘๔ ปี พระพรหมวชิรเวที (อมร ญาโณทโย) ณ วัดปทุมวนาราม (เปิดอ่าน73)
23/4/2567
พระพรหมบัณฑิต เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ครั้งที่ ๒ ปี ๒๕๖๗
การประชุมคณะกรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ครั้งที่ ๒ ปี ๒๕๖๗ (เปิดอ่าน202)
22/4/2567
เวทีสานเสวนา เรื่อง 'วัดประยุรวงศาวาสและชุมชนย่านกะดีจีน - คลองสาน มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม คู่กรุงรัตนโกสินทร์' งานใต้ร่มพระบารมี ๒๔๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์
งานวัดพัฒนาประชาคม ไหว้พระรับพรย้อนวันวาน สารพันอาหาร ย่านกะดีจีน-คลองสาน ภายใต้งานใต้ร่มพระบารมี ๒๔๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์ ณ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (เปิดอ่าน160)
20/4/2567
พระพรหมบัณฑิต เป็นประธานฝ่ายบรรพชิต และกล่าวสัมโมทนียกถา เรื่อง 'กรุงรัตนโกสินทร์ อินทอโยธยา' ในพิธีเปิดงานวัดพัฒนาประชาคม ไหว้พระรับพรย้อนวันวาน สารพันอาหาร ย่านกะดีจีน-คลองสาน
พิธีเปิดงานวัดพัฒนาประชาคม ไหว้พระรับพรย้อนวันวาน สารพันอาหาร ย่านกะดีจีน-คลองสาน ภายใต้งานใต้ร่มพระบารมี ๒๔๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์ ณ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (เปิดอ่าน259)
19/4/2567
พระพรหมบัณฑิต เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการจัดงานใต้ร่มพระบารมี ๒๔๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๗ ณ หอประชุมอาคารสิริภักดีธรรม ชั้น ๓ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ
การประชุมคณะกรรมการจัดงานใต้ร่มพระบารมี ๒๔๒ ปี กรุงรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๗ ณ หอประชุมอาคารสิริภักดีธรรม ชั้น ๓ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (เปิดอ่าน242)
16/4/2567
หนังสือธรรม บทความพระธรรมเทศนาวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
วีดีโอธรรมะ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
แฟ้มรูปภาพ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
บทเทศนา วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
บทความ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ดาวน์โหลดเอกสาร วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
องค์การบริหารงานของวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
สำนักงานเจ้าแขวงกัลยาณมิตร วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ชมรมศิษย์เก่า วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ศูนย์พระปริยัตินิเทศก์แห่งคณะสงฆ์
ศูนย์แปลพระไตรปิฎกภาษาอังกฤษ
โครงการอบรมพระนักเทศน์
กะดีจีนคลองสาน
WatPrayoon Dhamma Radio
สถานีวิทยุธรรมะวัดประยูรฯ
วีดีโอวัดประยูรฯ
วีดีโอเพิ่มเติม
ขณะนี้ 79 คน
วันนี้ 1,263 คน
เมื่อวานนี้ 1,694 คน
เดือนนี้ 47,761 คน
เดือนที่ผ่านมา 38,662 คน
ทั้งหมด 2,636,000 คน
เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน 2556
 
วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ๑๐๖๐๐
โทร. ๐-๒๔๖๖-๑๖๙๓, ๐-๒๔๖๕-๕๕๙๒ โทรสาร ๐-๒๔๖๖-๙๔๙๘
สำนักงานฌาปนสถาน ๐-๒๔๖๖-๑๑๖๐, ๐-๒๔๖๕-๒๒๙๘ | www.watprayoon.com
Copyright © Watprayoon.com 2024 All Rights Reserved. พัฒนาเว็บไซต์โดย SchoolJob